Wattvision

Node Wattvision เป็นเครื่องมือสำหรับแสดงผลการวัดค่าการใช้พลังงาน สามารถแสดงค่า On peak, Off peak, Peak demand และค่าอื่น ๆ แสดงการคำนวณค่าเงินในแต่ล่ะเดือน ซึ่งช่วยในการวิเคราะห์การใช้พลังงาน และค่าใช้จ่าย นำไปสู่การแก้ปัญหาเรื่องพลังงานหรือช่วยลดค่าใช้จ่ายลงได้

การติดตั้ง node Wattvision

  1. ดาวน์โหลดไฟล์ wattvision-1.x.x.tgz มาไว้ที่เครื่อง

  2. ไปที่เมนูสามขีดทางด้านบนขวา

_images/wattvision1.png
  1. เลือกแถบเมนู manage palette

_images/wattvision2.png
  1. จากนั้นเลือก install

_images/wattvision3.png
  1. กดที่ Upload module tgz file จากนั้นเลือกไฟล์ wattvision-1.x.x.tgz

_images/wattvision4.png
  1. กดปุ่ม upload

_images/wattvision5.png
  1. กด upload เมื่อ Install สำเร็จจะปรากฎ node Watttvision ขึ้นมา

_images/wattvision6.png

จากนั้นให้ทำการลาก node Wattvision ไปไว้ใน flow แล้วกดดับเบิ้ลคลิก 1 ครั้ง เลือกแถบ PostgreSQL เพื่อให้ node set config ต่างๆ ก่อนกด save

การสร้าง database

เปิด node เข้ามาเลือกแถบ PostgreSQL

_images/wattvision7.png

โดยในแถบ PostgreSQL ประกอบไปด้วย

  • Server คือ Server Database มี default คือ Default Postgresql Server

  • Schema คือ คือการตั้งชื่อ Schema บน Database PostgreSQL มี Default คือ WattVision

  • Initialize คือ การสร้าง Database เมื่อทำการกดปุ่ม Init Database จะเป็นการสร้าง Schema ชื่อ wattvision ขึ้นมาใน PostgreSQL

_images/wattvision8.png

การสร้าง dashboard

เปิด node เข้ามาเลือกแท็บ Grafana

_images/wattvision9.png

โดยในแถบ Grafana ประกอบไปด้วย

  • Server คือ Server Grafana มี Default คือ Default Postgresql Server

  • Folder คือ คือการตั้งชื่อ Folder บน Grafana มี Default คือ WattVision

  • Initialize คือ การสร้าง Dashboard เมื่อทำการกดปุ่ม Init Dashboard จะเป็นการสร้าง Folder บน Grafana และทำการตั้งค่าให้เห็นหน้า Home เป็นหน้าแรก

_images/wattvision10.png

การเพิ่ม Site

เลือกแถบ Site Management

_images/wattvision11.png

โดยใน Site Mangement ประกอบไปด้วย

  • Sitename คือ ชื่อของ site ที่ต้องการ

  • Province คือ ชื่อจังหวัดที่ต้องการ

  • Latitude คือ ละติจูดบนแผนที่

  • Longitude คือ ลองจิจูดบนแผนที่

  • Tariff คือ อัตราค่าไฟฟ้าที่คิดตามช่วงเวลาการใช้งานของผู้ใช้ไฟฟ้า ตรวจสอบได้จากบิลการไฟฟ้า

_images/wattvision12.png

เมื่อใส่ข้อมูลครบแล้วกด save จะมีข้อมูล Site ปรากฎขึ้นในตารางทางด้านขวามือ

การเพิ่ม Powermeter

เลือกแถบ Powermeter Management

_images/wattvision13.png

โดยใน Powermeter Mangement ประกอบไปด้วย

  • Site คือ ชื่อของ site ที่ต้องการ

  • Powermeter name คือ ชื่อของ powermeter

  • Device ID คือ ชื่อหรือ ID ประจำตัวของอุปกรณ์

  • Type คือ ประเภทที่ผู้ใช้แยกอุปกรณ์เช่น MDB, DB, LOAD เป็นต้น

  • Electricity Billing Preferences คือการนำ powermeter นี้มาใช้ในการคำนวนค่าไฟ

  • Consider in electricity billing นำมาใช้คำนวณ

  • Exclude from electricity billing ไม่นำมาใช้คำนวณ

  • Energy that offsets electricity costs ส่วนที่ช่วยลดการใช้พลังงานจากการซื้อเช่น solar cell

_images/wattvision14.png

เมื่อใส่ข้อมูลครบแล้วกด save จะมีข้อมูล Powermeter ปรากฎขึ้นในตารางทางด้านขวามือ

_images/wattvision15.png

การนำเข้าข้อมูล

การตั้งค่า เปิด node เข้ามาเลือกแถบ Input Mapping เมื่อเลือกการตั้งค่าแล้วกด Done

_images/wattvision16.png
  • Identifier คือ เลือกใช้ key ทำการเลือกและใส่ชื่อที่จะใช้ใน payload มี default เป็น deviceid

  • NEXIIOT Device ID คือ ID ของ device ที่สร้างขึ้นบน NEXIIOT Platfrom และนำไปใส่ในการสร้าง powermeter

  • PowerMeter ID คือ ID ที่ถูกสร้างขึ้นตอนสร้าง Device ID

  • Total kWh คือค่า กิโลวัตต์-ชั่วโมง ทำการใส่ชื่อที่จะใช้ใน payload มี default เป็น total_active_energy

  • Total kVARh (optional) คือค่า กิโลวาร์-ชั่วโมง ทำการใส่ชื่อที่จะใช้ใน payload มี default เป็น total_reactive_energy

  • Timestamp คือค่า เวลาที่ทำการ ทำการใส่ชื่อที่จะใช้ใน payload มี default เป็น timestamp

การส่ง payload

ทำการลาก node inject, function, debug มาวางตามรูป

_images/wattvision17.png

แก้ไข node function ให้ส่ง payload ตามที่ได้ตั้งค่าไว้ในข้อ 6.1 ตามรูป

_images/wattvision18.png

เมื่อทำการกดที่ปุ่ม Inject จะมี debug ออกมาทางด้านขวามือ

_images/wattvision19.png